มร.ชม. ร่วมกับ สกร.ระดับอำเภอแม่ริม ให้ความรู้แก่ประชาชน 11 ตำบล ในพื้นที่อำเภอแม่ริม โครงการจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรูปแบบ โคก-หนอง-นา โมเดล เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ร่วมกับ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ระดับอำเภอแม่ริม จัดกิจกรรมในโครงการจัดการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรูปแบบ โคก-หนอง-นา โมเดล ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ศูนย์แม่ริม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ในการนี้ได้รับเกียรติจาก นางสาวณัชชา สอนสมฤทธิ์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่ริม ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการ สกร.ระดับอำเภอแม่ริม เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ ณ ห้องประชุมแม่ริม อาคารอำนวยการและบริหารกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ศูนย์แม่ริม โดยมีคณะผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา คณะเทคโนโลยีเกษตร พร้อมด้วย คณะครู บุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่ริม และผู้ร่วมโครงการจำนวน 130 คน จาก 11 ตำบลของอำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมเป็นเกียรติในพิธีเปิด
โอกาสนี้ ผศ.อัตถ์ อัจฉริยมนตรี คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ได้ให้เกียรติเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้เกี่ยวกับโคก หนองนา โมเดล ากนั้น ได้นำผู้ร่วมโครงการลงพื้นที่เรียนรู้การบริหารจัดการที่ดินแบบของ โคก-หนอง-นา โมเดล การแบ่งสัดส่วนที่ดินและการปลูกพืชผักสวนครัว ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดยมี นายคนึง กาบกันทะ ผู้อำนวยการกองอาคารและสถานที่/ผู้อำนวยการศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ เป็นวิทยากรและนำชมพื้นที่ ทั้งนี้เพื่อให้ชาวบ้านในพื้นที่อำเภอแม่ริมได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ โคก-หนอง-นา โมเดล และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสร้างรายได้แก่ครอบครัวและชุมชนได้ต่อไป
ภาพ – ข่าว : นางสาวพัชริดา เขียวขุนเนิน งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ข้อมูล: คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
- หน้าแรก
- เกี่ยวกับคณะ
- กิจกรรมคณะ
- โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ - เกษตรสีเขียว
- การผลิตบัณฑิต
- การบริการวิชาการ
- การวิจัย
- การทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม
- การบริหารจัดการ
- การประกันคุณภาพการศึกษา
- ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น
- ผลงานที่โดดเด่นและได้รับรางวัล
- วิศกรสังคม (Social Engineer)
- สะลวง-ขี้เหล็ก โมเดล
- แม่ริมโมเดล (Mae Rim Model)
- การแข่งขันทักษะทางวิชาการและวิชาชีพด้านเกษตร เครือข่ายราชภัฏทั่วประเทศ ครั้งที่ 9
- โครงการเรียนรู้ร่วมกันด้านระบบอาหารในสถานศึกษา
- โครงการห่วงโซ่คุณค่าวนเกษตรอินทรีย์
- โครงการ OGOP
- AGRIT & SDGsPGS
- อบรมหลักสูตรระยะสั้น Green Food for Good Life
- โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ สาขานวัตกรรมเกษตรอินทรีย์
- โครงการ U2T
- ราชภัฏสัมพันธ์ เกษตรก้าวหน้า พัฒนาท้องถิ่น
- วีดีโอกิจกรรม
- สวนเกษตรครูน้อย Smart Little Farm
- วีดีโอโครงการ OGOP
- วีดีโอโครงการอาหารในสถานศึกษา
- วีดีโอโครงการ U2T
- สะลวงโมเดล ปี 63 (เกษตรสีเขียว)
- สะลวงโมเดล ปี 64 (สามารถฟาร์มเมอร์)
- สะลวงโมเดล ปี 65 (นวัตกรรมเกษตรชุมชน)
- หลักสูตร
- ระบบสารสนเทศ
- ระบบจัดการโครงการวิจัย/ปัญหาพิเศษ
- AGRI E-Office
- ระบบฐานข้อมูลงานวิจัยและบริการวิชาการ
- ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ MIS
- ระบบจองห้องประชุม E-Booking
- ระบบจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ (LAB)
- ระบบบริหารจัดการ มคอ. TQF
- โครงการเรียนรู้ร่วมกันด้านระบบอาหารในสถานศึกษา
- โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ U2T
- โครงการส่งเสริมด้านการเกษตรโดยการพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ OGOP
- ระบบรายงานการปฏิบัติงาน
- บุคลากร
- หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตวศาสตร์
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรอินทรีย์
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการวิสาหกิจเกษตรและอาหาร
- สายสนับสนุน งานบริหารทั่วไป
- สายสนับสนุน งานวิจัยและบริการการศึกษา
- เจ้าหน้าที่อาหารในสถานศึกษา
- แบบฟอร์ม
- คำสั่งคณะ
- ติดต่อ