วันนี้ 14 ก.ย. 63 ที่ ห้องประชุมแม่ริม อาคารอำนวยการและบริหารกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่วิทยาเขตสะลวง-ขี้เหล็ก ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ นายเจริญฤทธิ์ สงวนสัตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธีเปิดการอบรม พัฒนาหัวขบวนเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม SDGsPGS จังหวัดเชียงใหม่สู่การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืน โดยมีผู้แทนจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง พร้อมด้วยเกษตรกรเจ้าของแปลง young smart farmer ผู้ประกอบการแปรรูปสินค้าทางการเกษตร ผู้สนใจทำเกษตรอินทรีย์ จากจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง และจังหวัดพะเยา กว่า 180 คน เข้าร่วมงาน
การจัดงานครั้งนี้ เป็นการผลักดันให้เกิดการบริหารจัดการผลผลิตพืชอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ในจังหวัดเชียงใหม่ และเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ทั่วประเทศ โดยใช้กระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ มีกระบวนงานด้านการตรวจรับรองแปลงตามมาตรฐาน IFOAM (International Federation of Organic Agriculture) โดยใช้นวัตกรรม ทั้งด้านเทคโนโลยี โปรแกรมแอพพลิเคชั่นในการส่งลิงค์จุดตรวจในแปลงเกษตรทุกๆแปลง ซึ่งจะเป็นสื่อสำคัญที่ผู้บริโภคสามารถทวนสอบ ย้อนกลับ เพื่อดูกระบวนงานภายในแปลงได้ ผ่านคิวอาร์โค้ดประจำตัวของเกษตรกรทุกราย สำหรับการดำเนินงานของสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการจัดอบรมหลักสูตรผู้ตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์ครั้งที่ 1 ในเดือนกันยายน 2562 และได้ดำเนินการตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์ทั้งสิ้น 133 แปลง บนพื้นที่ร่วม 1,467 ไร่ ผ่านการพิจารณาเป็นแปลงอินทรีย์จำนวน 17 แปลง เป็นแปลงอินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยน 41 แปลง และอีก 75 แปลง อยู่ระหว่างการรอการส่งเสริมและพัฒนา
การจัดงานครั้งนี้ เป็นการผลักดันให้เกิดการบริหารจัดการผลผลิตพืชอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ในจังหวัดเชียงใหม่ และเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ทั่วประเทศ โดยใช้กระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ มีกระบวนงานด้านการตรวจรับรองแปลงตามมาตรฐาน IFOAM (International Federation of Organic Agriculture) โดยใช้นวัตกรรม ทั้งด้านเทคโนโลยี โปรแกรมแอพพลิเคชั่นในการส่งลิงค์จุดตรวจในแปลงเกษตรทุกๆแปลง ซึ่งจะเป็นสื่อสำคัญที่ผู้บริโภคสามารถทวนสอบ ย้อนกลับ เพื่อดูกระบวนงานภายในแปลงได้ ผ่านคิวอาร์โค้ดประจำตัวของเกษตรกรทุกราย สำหรับการดำเนินงานของสมาพันธ์เกษตรกรรมยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการจัดอบรมหลักสูตรผู้ตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์ครั้งที่ 1 ในเดือนกันยายน 2562 และได้ดำเนินการตรวจแปลงเกษตรอินทรีย์ทั้งสิ้น 133 แปลง บนพื้นที่ร่วม 1,467 ไร่ ผ่านการพิจารณาเป็นแปลงอินทรีย์จำนวน 17 แปลง เป็นแปลงอินทรีย์ระยะปรับเปลี่ยน 41 แปลง และอีก 75 แปลง อยู่ระหว่างการรอการส่งเสริมและพัฒนา
ทั้งนี้ เกษตรอินทรีย์ ถือเป็นแนวทางสำคัญกับคุณภาพและความปลอดภัยของวัตถุดิบ และอาหาร ซึ่งเริ่มตั้งแต่กระบวนการจัดการผลิต การเก็บเกี่ยว การขนส่งจากต้นน้ำ ก่อนจะส่งถึงมือผู้บริโภค หรือ ผู้ประกอบการเพื่อต่อยอดแปรรูป เกิดวัตถุดิบ และอาหารปลอดภัย ปลอดสารเคมี เสริมสร้างสุขภาพดีต่อประชาชน ตลอดจนการเกษตรแบบอินทรีย์ยังอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนอีกด้วย การขับเคลื่อนด้านการดำเนินงานเกษตรอินทรีย์ ทั้งองค์ความรู้ในการทำการเกษตรแบบอินทรีย์ การเชื่อมโยงผลผลิตสู่การตลาด การพัฒนาคุณภาพผลผลิตและสินค้าเกษตรอินทรีย์ ตลอดจนการให้การรับรองแปลงเกษตรอินทรีย์ จึงเป็นปัจจัยและแนวทางอันสำคัญยิ่งในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน
- หน้าแรก
- เกี่ยวกับคณะ
- กิจกรรมคณะ
- โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ - เกษตรสีเขียว
- การผลิตบัณฑิต
- การบริการวิชาการ
- การวิจัย
- การทำนุบำรุงศิลปและวัฒนธรรม
- การบริหารจัดการ
- การประกันคุณภาพการศึกษา
- ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น
- ผลงานที่โดดเด่นและได้รับรางวัล
- วิศกรสังคม (Social Engineer)
- สะลวง-ขี้เหล็ก โมเดล
- แม่ริมโมเดล (Mae Rim Model)
- การแข่งขันทักษะทางวิชาการและวิชาชีพด้านเกษตร เครือข่ายราชภัฏทั่วประเทศ ครั้งที่ 9
- โครงการเรียนรู้ร่วมกันด้านระบบอาหารในสถานศึกษา
- โครงการห่วงโซ่คุณค่าวนเกษตรอินทรีย์
- โครงการ OGOP
- AGRIT & SDGsPGS
- อบรมหลักสูตรระยะสั้น Green Food for Good Life
- โครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ สาขานวัตกรรมเกษตรอินทรีย์
- โครงการ U2T
- ราชภัฏสัมพันธ์ เกษตรก้าวหน้า พัฒนาท้องถิ่น
- วีดีโอกิจกรรม
- สวนเกษตรครูน้อย Smart Little Farm
- วีดีโอโครงการ OGOP
- วีดีโอโครงการอาหารในสถานศึกษา
- วีดีโอโครงการ U2T
- สะลวงโมเดล ปี 63 (เกษตรสีเขียว)
- สะลวงโมเดล ปี 64 (สามารถฟาร์มเมอร์)
- สะลวงโมเดล ปี 65 (นวัตกรรมเกษตรชุมชน)
- หลักสูตร
- ระบบสารสนเทศ
- ระบบจัดการโครงการวิจัย/ปัญหาพิเศษ
- AGRI E-Office
- ระบบฐานข้อมูลงานวิจัยและบริการวิชาการ
- ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ MIS
- ระบบจองห้องประชุม E-Booking
- ระบบจองเครื่องมือวิทยาศาสตร์ (LAB)
- ระบบบริหารจัดการ มคอ. TQF
- โครงการเรียนรู้ร่วมกันด้านระบบอาหารในสถานศึกษา
- โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ U2T
- โครงการส่งเสริมด้านการเกษตรโดยการพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ OGOP
- ระบบรายงานการปฏิบัติงาน
- บุคลากร
- หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตวศาสตร์
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมเกษตรอินทรีย์
- หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
- หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการจัดการวิสาหกิจเกษตรและอาหาร
- สายสนับสนุน งานบริหารทั่วไป
- สายสนับสนุน งานวิจัยและบริการการศึกษา
- เจ้าหน้าที่อาหารในสถานศึกษา
- แบบฟอร์ม
- คำสั่งคณะ
- ติดต่อ